วิธีออมเงิน เพื่ออนาคตที่ดี

วิธีออมเงิน  วิธีออมเงิน นักเรียน  วิธีออมเงิน มนุษย์เงินเดือน  วิธีเก็บเงิน มนุษย์เงินเดือน 10000  สูตรการออมเงิน  วิธีออมเงินอย่างฉลาด  วิธีออมเงิน 1 ปี  วิธีเก็บเงิน 30 000 ใน 1 เดือน  วิธีเก็บเงินแบบจริงจัง

 

วิธีออมเงิน เพื่ออนาคตที่ดี (1)

วิธีออมเงิน นักเรียน

วิธีออมเงินการออม ​เป็นการแบ่งรายได้ส่วนหนึ่งเก็บสะสมไว้สำหรับวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น วิธีออมเงิน นักเรียนเพื่อไว้ใช้ในอนาคต เผื่อเวลาฉุกเฉิน เพื่อใช้ในสิ่งที่อยากได้หรืออยากทำ การออมส่วนใหญ่มักอยู่ในรูปแบบที่มีความเสี่ยงต่อการสูญเสียเงินต้นต่ำ และได้รับผลตอบแทนไม่สูงนักเมื่อเทียบกับการลงทุน เช่น การฝากออมทรัพย์ การฝากประจำ การซื้อสลากออมทรัพย์สัดส่วนที่เหมาะสมในการออม​โดยทั่วไปควรออมเงินประมาณ 1 ใน 4 ของรายไ​ด้แต่ละเดือน อย่างไรก็ตามอัตราส่วนนี้สามารถปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม ขึ้นอยู่กับรายได้ปัจจุบันและแผนทางการเงินที่วางไว้ เช่น หากเรามีแผนที่จะใช้เงินก้อนใหญ่ในระยะเวลาอันใกล้ อาจจำเป็นต้องออมเงินมากกว่า 1 ใน 4 เพื่อให้เราถึงเป้าหมายทางการเงินเร็วขึ้น

วิธีออมเงิน เพื่ออนาคตที่ดี (2)

วิธีออมเงิน มนุษย์เงินเดือน

แต่ถ้าเรามีรายได้น้อยวิธีออมเงิน มนุษย์เงินเดือนและหนี้สินเยอะ ก็อาจลดการออมลง เพื่อนำเงินจำนวนนี้ไปทยอยผ่อนชำระหนี้สินที่มีให้หมดก่อน แล้วค่อยออมเพิ่มขึ้น เป็นต้น​วัตถุประสงค์ในการออมอาจจะจัดสรรวัตถุประสงค์หลักได้เป็น 4 ส่วน ดังนี้ปัจจัยที่ควรพิจารณาในการออมเมื่อเราเริ่มออมเงินแล้ว สิ่งต่​อไปที่จะต้องพิจารณาคือ เราจะเก็บเงินออมนั้นไว้อย่างไร หากจะเก็บเป็นเงินสดไว้กับตัว แม้จะนำมาใช้จ่ายได้ง่าย แต่ก็เสี่ยงต่อการสูญหายและไม่มีผลตอบแทนที่จะทำให้เงินออมงอกเงยได้ ทางเลือกของเราจึงอาจเป็นการมองหาผลิตภัณฑ์เพื่อการออมหลากหลายรูปแบบที่ออกโดยสถาบันการเงินต่าง ๆ เช่น 1. บัญชีเงินฝาก 2. ผลิตภัณฑ์คล้ายเงินฝาก ซึ่งการเลือกผลิตภัณฑ์เพื่อการออมให้เหมาะสมกับความต้องการและวัตถุประสงค์ในการออมนั้น

วิธีออมเงิน เพื่ออนาคตที่ดี (3)

วิธีเก็บเงิน มนุษย์เงินเดือน 10000

สามารถพิจารณาได้จากปัจจัยต่อไปนี้ 1. ผลตอบแทนผลตอบแทนจากการออมวิธีเก็บเงิน มนุษย์เงินเดือน 10000 คือ ดอกเบี้ย ซึ่งมีความสำคัญมากต่อการออม เพราะยิ่งอัตราผลตอบแทนสูงเท่าไร เงินออมก็จะยิ่งงอกเงยรวดเร็วขึ้นเท่านั้น ทั้งนี้ สามารถสอบถามข้อมูลอัตราผลตอบแทนของแต่ละผลิตภัณฑ์ได้จากสถาบันการเงินที่ต้องการ หรือตรวจสอบ อัตราดอกเบี้ยประจำวันของธนาคารพาณิชย์ ได้จาก website ของธนาคารแห่งประเทศไทย ​​​​​​​​​​​ 2. อัตราเงินเฟ้อ​​อัตราเงินเฟ้อเป็นอีกปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อ “ค่าของเงิน” เช่น เมื่อก่อนซื้อข้าวราดแกงจานละ 15 บาท แต่ปัจจุบันราคาเพิ่มขึ้นเป็น 30 – 50 บาท ราคาสินค้าที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือ “เงินเฟ้อ” ทำให้เงินมีมูลค่า หรือ “อำนาจซื้อ” ลดลงเมื่อเวลาผ่านไป ดังนั้นดอกเบี้ยเงินฝากที่ได้รับนั้นจึงยังไม่ใช่ผลตอบแทนที่แท้จริง ต้องมีการหักผลกระทบจากเงินเฟ้อออกก่อน ดังนี้​

วิธีออมเงิน เพื่ออนาคตที่ดี (4)

สูตรการออมเงิน

ทั้งนี้ สามารถดูข้อมูลอัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูตรการออมเงิน ได้จาก website ของธนาคารแห่งประเทศไทย​ ยกตัวอย่างเช่น หากนำเงินไปฝากประจำที่มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4 ต่อปี หากอัตราเงินเฟ้อเท่ากับร้อยละ 3 ต่อปี ดังนั้นอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงจะเท่ากับร้อยละ 1 เท่านั้น และในบางครั้งอัตราดอกเบี้ยเงินฝากอาจน้อยกว่าอัตราเงินเฟ้อ ซึ่งทำให้อัตราดอกเบี้ยที่แท้จริงติดลบ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า เงินที่งอกเงยขึ้นไม่เพียงพอกับค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้น ในกรณีนี้ผู้ฝากอาจนำเงินจำนวนนี้ไปลงทุนเพื่อให้ได้ผลตอบแทนที่สูงกว่า โดยสามารถศึกษาเรื่องการลงทุนเพิ่มเติมที่ การลงทุนเพราะการออมมีผลตอบแทน ดังนั้นยิ่งเริ่มต้นออมเร็วเท่าไหร่ เงินก็จะยิ่งงอกเงยมากขึ้นเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกรณีที่นำเงินไปฝากแบบมีการคิดดอกเบี้ยทบต้น

วิธีออมเงิน เพื่ออนาคตที่ดี (5)

วิธีออมเงินอย่างฉลาด

วิธีออมเงินอย่างฉลาด ดอกเบี้ยที่ได้จะถูกทบเข้ากับเงินต้นเดิม และกลายเป็นเงินต้นของงวดถัดไปเรื่อย ๆ ทำให้เงินงอกเงยได้เร็วยิ่งขึ้นนอกจากนี้ หากเรามีการตั้งเป้าหมายทางการเงินไว้ ยิ่งเราเริ่มออมเร็วเท่าไหร่ ภาระในการเก็บออมก็จะยิ่งลดลงเท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น เราตั้งเป้าหมายออมเงินให้ได้ 1 ล้านบาทเพื่อการเกษียณ โดยได้อัตราผลตอบแทนเฉลี่ย 5% ต่อปี หากเริ่มออมตั้งแต่อายุ 31 ปี จะต้องออมเพียงปีละ 15,000 บาทเท่านั้น แต่หากเริ่มออมเมื่ออายุ 51 ปี จะต้องออมถึงปีละ 76,000 บาท ดังตารางด้านล่างจากสมการ จะเห็นได้ว่ายิ่งอัตราดอกเบี้ยหรือผลตอบแทนสูง ระยะเวลาการออมเงินให้งอกเงยเป็นเท่าตัวก็ยิ่งสั้นลง ยกตัวอย่างเช่น ถ้าเราออมโดยได้ดอกเบี้ยร้อยละ 4 จะต้องใช้เวลา 18 ปีเงินจึงจะงอกเงยเป็นเท่าตัว แต่ถ้าเราออมที่ดอกเบี้ยร้อยละ 6 เงินจะงอกเงยเป็นเท่าตัวในเวลาเพียง 12 ปีวิธีออมเงิน

ขอบคุณเครดิต    e-yhangwa.com

ข่าวแนะนำ