สาระน่ารู้ รู้จักภาวะ “Spotlight Effect” กังวลว่าตัวเองเป็น “จุดสนใจเกินจริง”

สาระน่ารู้  สาระน่ารู้สั้นๆ  สาระน่ารู้ทั่วไป  สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว  สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว สั้นๆ  108 สาระน่ารู้  บทความสาระน่ารู้  สาระน่ารู้ ภาษาอังกฤษ  สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเรียน  

 

สาระน่ารู้ 

 

สาระน่ารู้หากคุณเคยคิดหรือกังวลว่า “ทุกคนกำลังจับจ้อง” จนทำให้เครียดและทำตัวไม่ถูกเพราะกลัวทำผิดพลาด นี่อาจเป็นสัญญาณว่าคุณกำลังอยู่ในภาวะ “Spotlight Effect” ภาวะนี้เกิดจากอะไรและหากเป็นแล้วจะรับมืออย่างไร ข้อมูลจากเว็บไซต์ VeryWellMind ซึ่งรวบรวมบทความและงานวิจัยเกี่ยวกับสุขภาพจิต ระบุว่า “Spotlight Effect” เป็นคำอธิบายทางจิตวิทยาที่ใช้โดยบรรดานักจิตวิทยาสังคม เพื่อสื่อถึงแนวโน้มที่เราประเมินว่าคนอื่น ๆ สาระน่ารู้สั้นๆจ้องจับผิดตนเองมากเกินความเป็นจริง หรือแนวโน้มที่เราคิดว่ามีสปอตไลต์ส่องมาที่ตัวเองตลอดเวลา ซึ่งยิ่งทำให้ทุกคนในสังคมเห็นข้อผิดพลาดหรือจุดด้อยของเราชัดเจนขึ้น คำว่า Spotlight Effect ถือกำเนิดในช่วงระหว่างปี 2542-2543 โดย โทมัส กิโลวิช ศาสตราจารย์ด้านจิตวิทยาจากมหาวิทยาลัยคอร์เนลล์ในสหรัฐ หลังจากทดลองให้เด็กนักเรียนกลุ่มหนึ่งใส่เสื้อที่มีลายเด่นมาก ๆ แล้วให้เด็กกลุ่มนั้นมาสายกว่าคนอื่น ๆ

 

สาระน่ารู้ 

สาระน่ารู้สั้นๆ

จากการสอบถามพบว่า เด็กทุกคนคิดว่าเพื่อนร่วมชั้นคนอื่น ๆ จะต้องล้อและจดจำลายเสื้อที่ตนใส่วันนั้นได้เกินครึ่ง (50%) แน่นอน แต่ผลปรากฏว่า มีคนที่สนใจจริง ๆ และสังเกตเห็นประมาณ 25% เท่านั้น กิโลวิชจึงได้ข้อสรุปว่า ความคิดที่ว่าคนอื่นสนใจเรา เป็นเพราะเราสนใจในสิ่งนั้น ๆ มากเกินไปจนทำให้รู้สึกกังวลเกินกว่าเหตุ ขณะเดียวกัน สาระน่ารู้เกี่ยวกับการเรียนการที่เราขาดความมั่นใจ อายที่จะเข้าสังคม เหตุผลส่วนหนึ่งก็มาจากจินตนาการในหัวของตัวเอง สาระน่ารู้ทั่วไปที่คิดว่าคนอื่นจะมองเราไม่ดี สำหรับคนที่มีภาวะวิตกกังวลทางสังคม Spotlight Effect อาจส่งผลเลวร้ายกว่า ถึงขั้นที่ว่ามีผลกระทบต่อความสามารถในการทำงาน หรือความรู้สึกสบายใจขณะอยู่กับคนอื่น ๆ โดยมักทำให้พวกเขารู้สึกอับอาย อย่างไรก็ตาม สำหรับคนที่มีภาวะวิตกกังวลทางสังคมนั้น ความรู้สึกนี้ก็อาจเกิดจากการคิดเกินจริงไปเอง

สาระน่ารู้ทั่วไป

ตัวอย่างเช่น หากคุณตื่นสายและไปทำงานในสภาพผมยุ่ง คุณอาจคิดว่าทุกคนจะสังเกตเห็นและแอบคิดในแง่ร้ายกับตัวเอง คุณอาจรู้สึกอายหรือพยายามหลบเพื่อนร่วมงาน เพราะคิดว่าพวกเขาจะเวทนาหรือล้อเลียนตัวเอง นอกจากนี้ ผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่า ภาวะSpotlight Effect มาจากการสนใจแต่ตัวเองมากเกินไปสาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว เช่นเดียวกับการไม่สามารถ “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” ทำให้ไม่รู้ว่าจริง ๆ แล้ว มุมมองความคิดของคนอื่นนั้นแตกต่างจากมุมมองของตน ส่งผลกระทบอย่างไร ทุกคนที่มีภาวะ Spotlight Effect โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนที่มีภาวะวิตกกังวลทางสังคม มักโฟกัสแต่ตัวเอง รวมถึงการกระทำและรูปลักษณ์ของตัวเอง และเชื่อว่าทุก ๆ คนก็สนใจตนเช่นกัน ดังนั้น การตระหนักว่าตัวเองมีภาวะ Spotlight Effect สามารถช่วยลดความกังวลใจหรือความอับอายเมื่ออยู่ในสถานการณ์ที่ต้องเข้าสังคมได้

 

สาระน่ารู้ 

 

สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว

นอกจากนั้น หากคุณสามารถเข้าใจแจ่มแจ้งว่า “ไม่มีใครสนใจคุณจริง ๆ” จากนั้น คุณก็จะเลิกวิตกกังวลเรื่องนี้ไปเอง แต่สำหรับคนที่มีภาวะวิตกกังวลทางสังคมอาจเป็นเรื่องยากกว่าในการยอมรับข้อเท็จจริงนี้และเอาชนะภาวะวิตกกังวลที่เกิดจาก Spotlight Effect ทั้งนี้ ภาวะวิตกกังวลทางสังคมเป็นภาวะที่มากกว่าแค่ความรู้สึกกังวลใจ และสะท้อนถึงความแตกต่างของการทำงานของสมองและการตอบสนองต่อปัจจัยแวดล้อม สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว สั้นๆคนที่มีภาวะวิตกกังวลทางสังคมอาจรู้ตัวว่าความรู้สึกตัวเองนั้นไม่มีเหตุผล แต่ก็ไม่สามารถเปลี่ยนความรู้สึกได้อยู่ดี วิธีรักษา/บำบัด ภาวะ Spotlight Effect สามารถทำให้ร่างกายอ่อนล้าได้ หากคุณมีภาวะวิตกกังวลทางสังคมร่วมด้วย เพราะทำให้ทุก ๆ สถานการณ์ดูน่าหวาดกลัวและคุกคาม แต่อาการของภาวะนี้

สาระน่ารู้ เรื่องใกล้ตัว สั้นๆ

ซึ่งรวมถึง Spotlight Effect สามารถรักษาได้ด้วยการบำบัดและใช้ยาควบคู่กัน การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมกับนักบำบัดที่เชี่ยวชาญด้านภาวะวิตกกังวลทางสังคม สามารถช่วยให้คุณค่อย ๆ ขจัดรูปแบบความคิดเชิงลบได้ ขณะที่การให้แพทย์สั่งจ่ายยารักษาบางชนิด เช่น ยาแก้ซึมเศร้า (Antidepressant) อาจช่วยป้องกันไม่ให้คุณเกิดความรู้สึกหวาดกลัว ไร้ประโยชน์และสงสัยในตัวเอง นอกจากนี้ การออกกำลังกายตามที่นักบำบัดแนะนำ 108 สาระน่ารู้จะช่วยให้คุณสามารถจัดการกิจกรรมในแต่ละวัน มีความมั่นใจมากขึ้น และรู้สึกอับอายคนอื่น (จากการคิดไปเอง) น้อยลง รับมืออย่างไร วิธีหนึ่งในการเอาชนะ Spotlight Effect คือการทดสอบความเชื่อของตัวเองว่า คนอื่นกำลังจ้องจับผิดและประเมินคุณหรือไม่ วิธีการนี้มีประโยชน์ในการช่วยให้คุณเข้าใจแนวคิดที่มีงานวิจัยนิยามว่า “ภาพมายาของความโปร่งใสตรงไปตรงมา” (illusion of transparency)

 

สาระน่ารู้

108 สาระน่ารู้ 

ซึ่งอ้างถึงการที่บุคคลมีแนวโน้มที่จะคิดว่าคนอื่นรู้ถึงความรู้สึกและลักษณะจิตใจของตนมากเกินไป ทั้งที่จริงแล้วตรงกันข้าม ขณะเดียวกัน คุณสามารถเอาชนะ Spotlight Effect ด้วยการลองโฟกัสความสนใจตัวเองไปที่ผู้คนหรือสิ่งรอบข้างและสังเกตปฏิกิริยาของคนอื่น ๆ บทความสาระน่ารู้ที่มีต่อคุณ วิธีนี้อาจช่วยให้เลิกโฟกัสว่าคนอื่น ๆ สนใจตัวคุณจนเกิดความวิตกกังวล และได้รับรู้ว่าจริง ๆ แล้ว สาระน่ารู้ ภาษาอังกฤษคนอื่นแทบไม่ได้สนใจคุณเลย และพวกเขาต่างสนใจแต่เรื่องของตัวเองทั้งนั้น ซึ่งก็ทำให้เราจินตนาการได้ง่ายขึ้นว่า “สปอตไลต์ไม่ได้ส่องมาที่คุณและไม่มีใครเห็นจุดด้อยของคุณ” อย่างที่เราเคยคิดไปเองสาระน่ารู้

ขอบคุณเครดิต    bangkokbiznews.com

 

ข่าวแนะนำ