สธ.เพิ่มการเฝ้าระวัง”โรคฉี่หนู”มากับน้ำท่วม เผยปีนี้เสียชีวิตแล้ว 28 ราย

 

 

 

โรคฉี่หนู โรคฉี่หนู อันตรายไหม  โรคฉี่หนูเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย  โรคฉี่หนู เกิดจาก โรคฉี่หนู pdf การวินิจฉัยโรคฉี่หนู โรคฉี่หนู ภาษาอังกฤษ  โรคฉี่หนูในสุนัข

โรคฉี่หนูนายแพทย์วิชาญ ปาวัน ผู้อำนวยการกองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข กล่าวว่า โรคฉี่หนู หรือโรคเลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียโดยมีสัตว์เป็นพาหะขับถ่ายปนเปื้อนในน้ำ เมื่อผู้มีบาดแผลไปลุยน้ำลุยโคลนสัมผัสเชื้อก็จะเกิดการติดเชื้อได้ ทำให้พบผู้ป่วยมากขึ้นในช่วงฤดูฝนหรือหลังน้ำท่วมขังผู้ป่วยจะมีอาการหลักๆ คือ ไข้สูง ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ บางรายตาแดง หากมีประวัติลุยน้ำมา แพทย์จะวินิจฉัยเบื้องต้นว่าเป็นโรคฉี่หนู หากมาพบแพทย์เร็วได้รับการรักษา รับประทานยา 5 วันต่อเนื่องก็จะหายได้ แต่หากมาพบแพทย์ช้า แม้จะมียารักษา แต่ก็จะมีความเสี่ยง บางรายอาจเกิดภาวะไตวายแทรกซ้อนขณะนี้ มีการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคฉี่หนูในสถานพยาบาล ร้านขายยา ในกรณีที่ผู้ป่วยมาหาซื้อยาเอง ขอให้ร้านขายยาแนะนำให้ผู้ป่วยมาพบแพทย์ และกรมควบคุมโรคได้ทำหนังสือไปยังกรมประชาสัมพันธ์ เพื่อแจ้งจังหวัดให้แจ้งเตือนข้อมูลโรคฉี่หนู เพื่อให้ประชาชนเกิดความระมัดระวัง โดยมีข้อแนะนำป้องกันการติดเชื้อ ดังนี้

โรคฉี่หนู เกิดจาก

1. หลีกเลี่ยงการเดินลุยน้ำย่ำโคลน หากจำเป็นควรสวมรองเท้าบู๊ต ถุงมือยาง กางเกงขายาว หรือชุดกันน้ำขณะเดินลุยน้ำท่วมขัง ย่ำดินที่ชื้นแฉะ และการทำความสะอาดบ้านเรือนหลังน้ำลด

2. ให้ทำความสะอาดร่างกายด้วยสบู่และน้ำสะอาดทันทีหลังลุยน้ำย่ำโคลนหรือลงแช่น้ำโรคฉี่หนูเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

3. หากมีไข้ ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตัว ปวดกล้ามเนื้อที่น่องหรือโคนขา หลังลุยน้ำย่ำโคลนหรือลงแช่น้ำ อย่าซื้อยามารับประทานเอง ให้รีบไปพบแพทย์โดยเร็วที่สุดและแจ้งประวัติเสี่ยงให้แพทย์ทราบ โรคฉี่หนู เกิดจาก

ทั้งนี้ กระทรวงสาธารณสุข เปิดเผยว่า ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 26 ตุลาคม 2565 มีรายงานข้อมูลผู้ป่วยโรคฉี่หนูในทุกภูมิภาค รวม 2,494 ราย เสียชีวิต 28 ราย โดยยังมีแนวโน้มพบผู้ป่วยและผู้เสียชีวิตเพิ่มขึ้นอีก

โรคฉี่หนูโรคฉี่หนู pdf
โรคฉี่หนู อันตรายไหม

โรคฉี่หนูเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย

ความหมาย โรคฉี่หนู

โรคฉี่หนู (Leptospirosis) หรือเรียกอีกอย่างว่าโรคเล็ปโตสไปโรซิส เป็นการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่เกิดขึ้นได้ทั้งกับคนและสัตว์ การติดเชื้อในคนมีสาเหตุมาจากการสัมผัสดิน น้ำ อาหารที่ปนเปื้อนปัสสาวะ เลือด หรือเนื้อเยื่อของของสัตว์ที่ติดเชื้อชนิดนี้ เช่น สุนัข วัว ควาย หนู สุกร ม้า สัตว์ป่า เป็นต้นผู้ติดเชื้อจากโรคฉี่หนูจะสามารถแสดงอาการได้ตั้งแต่ 2-30 วันหลังได้รับเชื้อ แต่ส่วนใหญ่มักแสดงอาการในช่วงประมาณ 7-14 วัน ซึ่งอาการของโรคนี้อาจปรากฏตั้งแต่ไม่มีอาการเลย มีอาการขั้นอ่อนไปจนถึงขั้นรุนแรงถึงชีวิตอาการของโรคฉี่หนูที่ไม่รุนแรงดังข้างต้นเป็นอาการในระยะแรกและมักหายไปได้เองใน 5-7 วัน แต่มีผู้ป่วยราว 5-10 เปอร์เซ็นต์ ที่อาการเหมือนจะดีขึ้นและหายดี หลังจากนั้นประมาณ 1-3 วันกลับทรุดลง เนื่องจากมีการพัฒนาของโรคไปสู่โรคฉี่หนูแบบรุนแรง และยังสามารถส่งผลกระทบถึงอวัยวะต่าง ๆ เช่น สมอง หัวใจ ตับ ไต หรือปอดได้เลยทีเดียว อาการของโรคชนิดรุนแรงที่อาจเกิดขึ้นได้มีดังนี้การวินิจฉัยโรคฉี่หนู

 

โรคฉี่หนู ภาษาอังกฤษ

 

 

โรคฉี่หนู อันตรายไหม

ส่วนเชื้อที่มากับปัสสาวะสัตว์ติดเชื้อที่ปนเปื้อนมากับน้ำ ดินที่เปียก หรือพืชผักต่าง ๆ ก็เป็นสาเหตุของการติดเชื้อทางอ้อมได้ เนื่องจากแบคทีเรียชนิดนี้สามารถไชเข้าสู่ร่างกายได้ทางเยื่อบุตา ปาก จมูกของคน รวมถึงรอยแผล รอยขีดข่วนทั้งหลาย หรือแม้แต่ผิวหนังปกติที่แช่อยู่ในน้ำเป็นเวลานานจนอ่อนนุ่ม โรคฉี่หนู ภาษาอังกฤษการย่ำดินโคลน แช่ในน้ำท่วม หรือว่ายน้ำ จึงเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคฉี่หนูนอกจากนี้ การได้รับเชื้อที่ปนเปื้อนในอาหาร น้ำ หรือการสูดหายใจอากาศที่ปนเปื้อนละอองนิวเคลียสของของเหลวที่มีเชื้อนี้ก็ทำให้ติดโรคได้ แต่มักพบได้น้อย ส่วนการติดต่อจากคนสู่คนนั้นพบการติดเชื้อจากปัสสาวะของผู้ป่วยโรคนี้เพียงรายงานเดียว การแพร่เชื้อจากแม่ไปสู่ทารกในครรภ์พบ 2 ราย และมีรายงานถึงเด็กที่คลอดออกมาแล้วมีอาการป่วยเป็นโรคนี้เหมือนในผู้ใหญ่ด้วยโรคฉี่หนู

โรคฉี่หนู อันตรายไหม ,โรคฉี่หนูเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย , โรคฉี่หนู เกิดจาก , โรคฉี่หนู pdf , การวินิจฉัยโรคฉี่หนู , โรคฉี่หนู ภาษาอังกฤษ , โรคฉี่หนูในสุนัข

ขอบคุณข่าวต้นทาง mgronline.com